วันอาทิตย์ที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2566

สาเหุตเสี่ยงและอาการโรคมะเร็งปากมดลูก

 

สาเหุตเสี่ยงและอาการโรคมะเร็งปากมดลูก


ปัจจัยเสี่ยง สาเหตุสำคัญที่ห่อให้เกิดมะเร็งปากมดลูก 


มะเร็งปากมดลูก



1. มีคู่นอนหลายคน



2. มีเพศสัมพันธ์ตั้งแต่อายุยังน้อย



3. สูบบุหรี่



4. มีบุตรหลายคน



5. เป็นโรคเรื้อรังหรือโรคที่ทำให้เกิดภาวะภูมิคุ้มกันต้านทานโรคต่ำ



6. ภาวะคุ้มกันต่ำ โดยเฉพาะเป็นโรคเอดส์



7. มีคู่นอนที่มีเรื่องอย่างว่ากับหลายคน 



8. เคยเป็นโรคติดเชื้อจากการร่วมเพศ เช่น กามโรค



9. การขาดสารอาหารบางชนิด



10. พันธุกรรม



อาการมะเร็งปากมดลูก



1. อาการตกเลือดทางช่องคลอด



2.  อาการขาบวม ปวดหลัง  ปวดก้นกบ ปัสสาวะเป็นเลือด ถ่ายอุจจาระเป็นเลือด  



3. เลือดออกกะปริบกะปรอยช่วงระหว่างรอบเดือน : 



4. ประจำเดือนมานานผิดปกติ : 



5. ในวัยหมดประจำเดือนถาวรอาจมีเลือดออกมาด้วย : 



6. มีเลือดออกเวลามีเพศ สัมพันธ์ทั้งๆที่ไม่เคยมีมาก่อน : 



7. บางรายอาจมีตกขาวมากผิดปกติ : มีกลิ่นเหม็นและปนเลือดออกมาด้วย



8. อาจมีอาการเจ็บขณะมีเพศสัมพันธ์ทั้งๆทีค่ไม่เคยเป็นมาก่อน : 



9. ขาบวมหากโรคลุกลามไปกดทับท่อน้ำเหลืองในอุ้งเชิงกราน : 


----

อาการของโรคมะเร็งปากมดลูกระยะลุกลาม (มะเร็งแพร่กระจายเกินปากมดลูกไปยังส่วนอื่นๆ ของร่างกาย) 

อาจรวมถึงอาการของมะเร็งปากมดลูกระยะเริ่มต้นและในระยะแรก มะเร็งปากมดลูกมักไม่แสดงอาการ

ทำให้ตรวจพบได้ยาก 


อาการมักเริ่มขึ้นหลังจากมะเร็งแพร่กระจายเมื่อมีอาการของมะเร็งปากมดลูกระยะเริ่มต้น 

อาจรวมถึงมีเลือดออกทางช่องคลอดหลังมีเพศสัมพันธ์ เลือดออกทางช่องคลอดหลังวัยหมดประจำเดือน 

เลือดออกทางช่องคลอดระหว่างรอบเดือนหรือรอบเดือนที่หนักหรือนานกว่าปกติ


ตกขาวที่เป็นน้ำและมีกลิ่นแรงหรือมีเลือดปน ปวดอุ้งเชิงกรานหรือปวดขณะมีเพศสัมพันธ์


ถ่ายอุจจาระลำบากหรือเจ็บปวด หรือมีเลือดออกจากทวารหนักเมื่อมีการเคลื่อนไหวของลำไส้


ปัสสาวะลำบากหรือเจ็บปวดหรือมีเลือดปนในปัสสาวะ


ปวดหลังอาการบวมที่ขา ปวดท้อง รู้สึกเหนื่อย


อาการเหล่านี้อาจเกิดจากหลายสาเหตุนอกเหนือจากมะเร็งปากมดลูก วิธีเดียวที่จะทราบได้คือการ

ไปพบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ หากเป็นมะเร็งปากมดลูก การเพิกเฉยต่ออาการอาจทำให้การรักษาล่าช้า

และทำให้การรักษามีประสิทธิภาพน้อยลง


ควรตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกสามารถช่วยป้องกันหรือค้นหามะเร็งปากมดลูกได้ตั้งแต่เนิ่นๆ

ผู้หญิงที่มีเพศสัมพันธ์ทุกช่วงอายุ ควรมาตรวจคัดกรองเชื้อ มะเร็งปากมดลูก หรือที่เรียกว่า แพปสเมียร์

 (Pap Smear)   อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น